ออกเดินทางไปพร้อมกับบทสนทนาชวนขบคิดถึงชีวิตแสนยากเย็นใน แท็กซี่คันนี้รับส่งความหวัง หนังสือที่เหมาะอย่างมากสำหรับคนที่กำลังสิ้นหวังหมดไฟขั้นสุด โดย คิตางาวะ ยาซุชิ
หลังจากผ่านมา 37 ปี จากการตีพิมพ์หนังสือเรื่อง โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง โดย คุโรยานางิ เท็ตสึโกะ ฉบับแปลภาษาไทยโดย ผุสดี นาวาวิจิต สำนักพิมพ์ผีเสื้อได้จัดพิมพ์หนังสือภาพ โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง เมื่อต้นปี พ.ศ.2564 ในรูปแบบปกแข็งจำนวน 2 เล่มพร้อมรูปประกอบจำนวนกว่า 100 รูปโดยอิวาซากิ ชิฮิโระ
มนุษย์ร้านสะดวกซื้อ นวนิยายญี่ปุ่นโดย มุราตะ ซากายะ หนังสือที่ชวนตั้งคำถามถึงความปกติและการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตผ่านเรื่องราวที่มีตัวละครหลักอย่าง ฟุรุคุระ เคโกะ หญิงสาววัย 36 ปีซึ่งยังไม่แต่งงานและทำงานพิเศษที่ร้านสะดวกซื้อมาตลอดเป็นเวลา 18 ปี
คนดีตายหมดแล้ว หนังสือรวมเรื่องสั้นของ สรจักร นักเขียนที่มีสไตล์โดดเด่นในการสร้างสรรค์เรื่องราวระทึกขวัญแบบหักมุมจบ จนกลายเป็นลายเซ็นที่สร้างชื่อในเอกลักษณ์ของการหลอกล่อให้ผู้อ่านดิ่งไปกับการเล่าเรื่องที่ชวนติดตามเพื่อที่จะพบว่าในท้ายที่สุดทุกสิ่งที่เชื่อถือมาล้วนเป็นความลวงที่พร้อมจะพลิกความเชื่อนั้นให้กลายเป็นอีกสิ่ง
ประกาศอย่างเป็นทางการแล้วสำหรับ 10 เล่ม Shortlist ซีไรต์ 2564 หนังสือนวนิยายที่ผ่านเข้ารอบคัดเลือกรอบสุดท้าย รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (S.E.A Write)
งานหนังสือประจำปี Hybrid Book Fair 2564 เริ่มต้นขึ้นแล้ว เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงมีลิสต์รายการเรียงยาวเป็นหางว่าว แต่สำหรับใครที่ยังไม่มี เรามีหนังสือแวะมาป้ายยา ทั้งเล่มใหม่ล่าและเล่มไม่ล่าแต่น่ามีไว้ในครอบครอง
ฮัสกี้หน้าโง่กับอาจารย์เหมียวขาวของเขา นิยายวายจีนความยาว 10 เล่มจบ เขียนโดย โร่วเปาปู้ชือโร่ว แปลไทยโดย BouPtrn เนื้อหาสอดแทรกประเด็นเชิงโครงสร้างทางสังคม การเมือง และสะท้อนความดำมืดของมนุษย์ออกมาได้อย่างแยบยล
กีรติรัก นวนิยายแฟนฟิกชันมีทั้งเนื้อหาของเลสเบียน และไบเซ็กชวล สะท้อนปัญหามิติเรื่องเพศในไทยโดยเฉพาะเลสเบียนและไบเซ็กชวลในช่วง พ.ศ.2500 ได้อย่างแนบเนียน ซึ่งปัญหานี้ยังคงอยู่มาถึงปัจจุบันและอาจจะดำเนินต่อไปในสังคมไทย
วิกฤติโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกวงการไม่เว้นแม้แต่วงการวรรณกรรมไทย โดยเฉพาะ ซีไรต์ หรือ รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน เวทีที่ สกุล บุณยทัต นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการตัดสินรางวัลซีไรต์พ.ศ.2564 กล่าวย้ำว่าเป็นเวทีที่มีความหมายต่อวงการนักเขียน และนักอ่านในสังคมไทยอย่างมาก