เอ่ยถึง สุโขทัย แน่นอนคนส่วนใหญ่จะนึกถึงความหมาย “รุ่งอรุณแห่งความสุข”หรือไม่ก็การเป็น “เมืองแห่งคราฟต์” ที่เต็มไปด้วยงานประณีตศิลป์ งานช่างฝีมือมากมายหลายแขนงไม่ว่าจะเป็นสังคโลก เครื่องเงิน เครื่องทอง ทอผ้า ซึ่งทั้งความสุขและความคราฟต์ฉบับสุโขทัยดูเหมือนจะเป็น DNA ที่ถูกส่งต่อผ่านกาลเวลาจากศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงสู่ปัจจุบัน
คุยกับ สัญญลักษณ์ บุณย์เสริมส่ง หรือ ครูแอ๊ก ผู้สืบทอดการทำพลุไทยโบราณจากรุ่นพ่อที่เป็นเพียงโรงงานพลุเล็กๆ ในจังหวัดสุโขทัย สู่ผู้อยู่เบื้องหลังพลุงานประเพณี ลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย
ออกไปตามหาความหมายของความสุข ที่ซ่อนอยู่ในงานคราฟต์ และการคราฟต์ชีวิตให้มีความสุขฉบับชาวสุโขทัย
ในบรรดาเมืองเก่าของไทย สุโขทัย ที่มีอายุตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 18-19 ถือว่าเป็นเมืองโบราณที่มีการวางผังเมืองได้ดีที่สุดโดยเฉพาะในเรื่องการวางผังเมืองเพื่อจัดการปัญหาเรื่องน้ำ ไม่ว่าจะเป็นน้ำแล้งหรือน้ำหลากก็ไม่ใช่ปัญหาสำหรับกรุงเก่าสุโขทัย
เที่ยวสุโขไทย ในสตูดิโองานคราฟท์ 3 แห่ง พร้อมเปิดรับนักท่องเที่ยวอีกครั้งเพื่อจุดประกายไฟศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นการปั้นและเขียนลายเครื่องสังคโลก ปั้นเซรามิกแบบตามใจคนปั้นและเรียนพุทธศิลป์แบบสุโขทัยกับกิจกรรมพิมพ์พระ