ประท้วง! หนังสือเล่าเรื่องประวัติศาสตร์การประท้วง แปลจาก Protest! ของ อลิซ และ เอมิลี ฮาเวิร์ท-บูท โดยสำนักพิมพ์ SandClock Books นำเสนอหนังสือเสริมทักษะชีวิต ความคิด การเรียนรู้ เจาะไปที่ทักษะร่วมสมัยอย่าง การประท้วง พร้อมที่จะอธิบายว่าทำไมการประท้วงถึงชอบธรรม
ย้อนรำลึกเหตุการณ์ 14 ตุลา ผ่านมุมมองของศิลปินและคนเดือนตุลา สินธุ์สวัสดิ์ ยอดบางเตย ชายผมยาวผู้ยืนเด่นอยู่ท่ามกลางผลงานศิลปะจากหยาดน้ำตาและอุดมการณ์ ซึ่งเราสามารถพบเห็นเขาได้เสมอในวันครบรอบ 14 ตุลาฯ และ 6 ตุลาฯ
กลุ่มคนดูแลกันเอง ทำงานในลักษณะของเครือข่ายการช่วยเหลือระหว่างอาสาสมัครจากหลากหลายอาชีพ ประสานระหว่างแคมป์แรงงานต่างๆ ทั่วกรุงเทพฯ ที่ต้องการความช่วยเหลือกับใครก็ได้ที่อยากจะให้ความช่วยเหลือในทุกด้านระหว่างการปิดแคมป์
นิ/ราษฎร์ : L/Royal Monument นิทรรศการเดี่ยวในรอบ 3 ปีของ วิทวัส ทองเขียว ศิลปินผู้เลือกแล้วที่จะนำคำว่า ศิลปะ มาวิพากษ์ วิจารณ์ และบอกเล่าสถานการณ์ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองของไทย
หลู่ซิ่น (Lu Hsun) นักเขียนผู้เป็นหมุดหมายสำคัญของวรรณกรรมจีนร่วมสมัย เจ้าของผลงาน ประวัติจริงของอาคิว (The True Story Of Ah Q) วรรณกรรมเล่มสำคัญที่พูดถึงการเปลี่ยนผ่านจากค่านิยมเก่าแบบขงจื้อที่มีการยึดหลักธรรมเนียมประเพณีแบบโบราณ ไปสู่โลกสมัยใหม่ที่ค่านิยมต่างๆ ถูกท้าทายจากสังคมและคนรุ่นใหม่
ในอดีต เพลงเพื่อชีวิต มักอยู่คู่กับเวทีเคลื่อนไหวทางการเมือง แต่วันนี้ที่ดนตรีมีความหลากหลายขึ้น เพลงเพื่อชีวิตแบบเดิมจึงถูกแทนที่ด้วยฮิปฮ็อปและ เพลงเพื่อชีวิต ฉบับนิวเจน
6 ซีรีส์ที่แฉความเทาๆ ของกระบวนการยุติธรรม ทั้งสินบน การคอรัปชัน เริ่มตั้งแต่ในวงการตำรวจ ทนายความ อัยการผู้พิพากษา รวมทั้งรัฐบาลที่ทำหน้าที่รับใช้ประชาชน
2 สิงหาคม ค.ศ.1868 ซึ่งตรงกับยุคสมัยของการ ปฏิวัติเมจิ เป็นวันที่ญี่ปุ่นประกาศยกเลิกระบบชนชั้น ที่เรียกว่า ชิโนโกโช พร้อมจัดตั้งสภาบริหารราชการตามหลักประชาธิปไตย เป็นจุดเริ่มของญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่ปรับประเทศสู่ระบบเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม
ผศ. ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์ ผู้อยู่เบื้องหลังงานศิลปะชุมชน New World x OldTown สถาปนิกคนหนึ่งที่เคยมองสลัม มองชุมชนเหมือนมุมมองสถาปนิกทั่วไปในแง่ที่เน้นแต่ตัววัตถุ พื้นผิว วัสดุกับองค์ประกอบ แต่ไม่เห็นผู้คนที่อาศัยอยู่ในนั้น ส่วนปัจจุบันเธอคลุกวงในงานด้านสถาปัตย์กับชุมชนและท้องถิ่นอย่างเต็มตัว