6 พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แบบออนไลน์ เจาะลึกด้านวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจทั้งในไทยและต่างประเทศ ตั้งแต่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ ถึงพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงวัตถุอวกาศ ที่สามารถเข้าชมนิทรรศการย้อนหลังได้
แบคเทอริโอเฟจ (Bacteriophage) หรือ เฟจ (Phage) ซึ่งมีความหมายในภาษาละตินว่า นักกินแบคทีเรีย เป็นไวรัสจำพวกหนึ่งที่สามารถนำมาใช้กำจัดแบคทีเรียก่อโรคกับมนุษย์ได้ ล่าสุดนักวิทยาศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาประสบความสำเร็จในการใช้เฟจเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยจากเชื้อดื้อยาได้
จุฬาฯ เปิดตัว COVID-19 SCAN ใช้เทคโนโลยี CRISPR ทำให้ชุดตรวจมีความไวและประสิทธิภาพสูงใกล้เคียงกับวิธี Real-time PCR แต่ราคาถูกกว่า
รู้จัก 9 สัญลักษณ์แสดง อันตรายของสารเคมี ตามกำหนดของ GHS ซึ่งเป็นการติดฉลากสารเคมีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก เพื่อแสดงถึงอันตรายในแต่ละด้าน
สไตรีนโมโนเมอร์ Styrene Monomer คืออะไร อันตรายแค่ไหนเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมอย่างไร รวมทั้งการเข้าระงับเหตุดับเพลิงอย่างถูกวิธีต้องทำอย่างไร
ถือเป็นการค้นพบที่เขย่าวงการวิทยาศาสตร์อย่างมากกับการค้นพบสารชีวโมเลกุล RNA ชนิดใหม่ที่มีน้ำตาลเกาะอยู่และตั้งชื่อให้ว่า glycoRNAs โดยศาสตราจารย์ ดร.แคโรลินเบอโทซี (Prof. Dr. Carolyn Bertozzi) และ คุณหมอนักวิจัย ดร.ไรอัน ฟลิน (Dr. Ryan Flynn) ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ความจริงไม่ใช่อย่างที่เห็น (Reality is Not What It Seems) โดย คาร์โล โรเวลลี (Carlo Rovelli) นักทฤษฎีฟิสิกส์ชาวอิตาลี ผู้มีผลงานออกมาอย่างต่อเนื่องโดย และมักเชื่อมโยงแนวคิดควอนตัมฟิสิกส์ทั้งในเชิงประวัติศาสตร์และปรัชญาวิทยาศาสตร์ งานเขียนของโรเวลลีมีความโดดเด่นด้วยการมองจากหลายเหลี่ยมมุมและการมุ่งเสนอความคิดใหม่
ในการผลิต วัคซีนโควิด-19 นั้นนอกจากทีมนักวิจัยแล้ว สัตว์ทดลอง คืออีกหนึ่งกลไกสำคัญ โดยผู้ที่อยู่เบื้องหลังสัตว์ทดลองเหล่านี้ก็คือ ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้คิดนวัตกรรมใหม่ในการถนอมร่าง สัตว์อาจารย์ใหญ่ ให้คงสภาพร่างกายที่นิ่มโดยไม่ต้องใช้สารฟอร์มาลิน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม