รู้จักวัคซีน ChulaCov19 (จุฬาคอฟ 19) อีกชนิดวัคซีนโควิด-19 ที่พัฒนาโดยทีมนักวิจัยไทย ใช้เทคโนโลยีการผลิตวัคซีนโควิดชนิด mRNA (เอ็มอาร์เอ็นเอ)เช่นเดียวกับวัคซีนของไฟซอร์ และโมเดอร์นา
ความสำเร็จของการปลูกฝีกันไข้ทรพิษในสยาม เริ่มในสมัยรัชกาลที่ 3 ตรงกับยุคที่หมอบรัดเลย์ และเหล่ามิชชันนารี เดินทางเข้ามาในสยามพร้อมความรู้ด้านการแพทย์แบบตะวันตก
ไขข้อสงสัย วัคซีนโควิด-19 สำหรับหญิงตั้งครรภ์ และผู้มีบุตรยาก ถามตอบหญิงตั้งครรภ์ คุณแม่ให้นมบุตรรับวัคซีนโควิดได้ไหม ตั้งครรภ์ระหว่างรับวัคซีนควรทำอย่างไร ชวนมาถามตอบกับสูตินรีแพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์
10 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ วัคซีนโควิดชนิด mRNA การผลิตวัคซีนที่ใช้สารพันธุกรรมสังเคราะห์ที่จำลองมาจากสารพันธุกรรมของไวรัส แทนการใช้เชื้อตายทั้งตัวของไวรัสมาใช้จริงในมนุษย์เป็นครั้งแรก
ปัจจุบันวัคซีนสำหรับโควิด-19 มีหลากหลายชนิดและยี่ห้อ แต่ชนิดหนึ่งที่น่าจับตามองอย่างยิ่ง คือ วัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ หรือ mRNA vaccine โดยผู้ค้นพบความลับของ mRNA ได้แก่ ดร.เคทลิน คาริโก (Dr. Katalin Kariko)
ในการผลิต วัคซีนโควิด-19 นั้นนอกจากทีมนักวิจัยแล้ว สัตว์ทดลอง คืออีกหนึ่งกลไกสำคัญ โดยผู้ที่อยู่เบื้องหลังสัตว์ทดลองเหล่านี้ก็คือ ศูนย์วิจัยไพรเมทแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ต้นเดือนเมษายน 2564 พบการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ในไทยที่รุนแรงและกระจายเชื้อเร็วขึ้นนั้นคือ โควิดสายพันธุ์อังกฤษกลายพันธุ์ ที่มีชื่อว่า B.1.1.7 ถือเป็นสายพันธุ์ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว
เปรียบเทียบชัดๆ 7 วัคซีนโควิด ตั้งแต่ประสิทธิภาพ ความเสี่ยง ถึงผลลัพธ์ข้างเคียง ทั้งไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทค, โมเดอร์นา, ซิโนแวค, แอสตราเซเนกา, จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน, โนวาแวกซ์ และสปุตนิกวี
ตอนนี้คนทั่วโลกต่างก็ฝากความหวังการต่อสู้ไวรัสโควิด-19 ไว้กับ วัคซีน เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd immunity) ในกลุ่มประชากร ดังที่ประเทศต่าง ๆ เริ่มมีการใช้วัคซีนโควิด-19 กันแล้ว แต่เพื่อความปลอดภัยเราต้องรู้ก่อนว่าวัคซีนทำงานอย่างไร และเราจะต้องเตรียมตัวอย่างไรก่อนฉีดวัคซีนโควิด