Tag: วรรณกรรม
หลบ โควิด-19 มา Social Distancing กับหนังสือเล่มโปรด และ 5 ร้านหนังสือออนไลน์ต้องช็อป

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติครั้งที่ 48 จึงเปิดระบบออนไลน์รองรับให้นักอ่านสั่งซื้อแบบ Social Distancing นอกจากนี้ยังมีร้านหนังสือออนไลน์ที่พร้อมมอบส่วนลดเอาใจนักอ่านกันรัวๆ

เมื่อฟ้ารอพบจันทร์ นวนิยายรักวันฝนพรำในพรมแดนของความรัก

เมื่อฟ้ารอพบจันทร์ นวนิยายรักเรียกน้ำตา ผลงานเขียนเล่มล่าสุดของ งามพรรณ เวชชาชีวะ เจ้าของรางวัลซีไรต์จากหนังสืออุ่นหัวใจอย่าง ความสุขของกะทิ ซึ่งเล่มนี้ไม่เพียงเป็นนิยายรักพาหัวใจสั่นไหว แต่ยังสอดแทรกประเด็นสังคมปัจจุบันไว้อย่างเข้มข้น

รักฉบับ โอ๊ต มณเฑียร ศิลปินผู้ตกหลุมรักหนังสือ และเรื่องสั้นอื่นๆ

ศิลปินผู้ตกหลุมรักหนังสือ และเรื่องสั้นอื่นๆ เป็นหนังสือประเภทเรื่องแต่งเล่มแรกของ โอ๊ต มณเฑียร ที่มีธีมว่าด้วยความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งเชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมดไว้ด้วยหนังสือ ซึ่งเป็นอีกสิ่งที่เขารักนอกจากงานศิลปะ

วรรณกรรมไทย ลมหายใจที่รวยรินท่ามกลางวงล้อมหนังสือแปล

วรรณกรรมไทย ในมุมมอง สกุล บุณยทัต นักวิจารณ์วรรณกรรมและอดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กับสภาวะซบเซาของวรรณกรรมไทย สิ่งที่นักเขียนไทยยังข้ามไม่พ้น และการยึดพื้นที่ของหนังสือแปลที่กำลังได้รับความนิยมอย่างมาก ณ ขณะนี้

บอด หนังสือที่จะพาด่ำดิ่งไปพร้อมสภาวะตาสว่างในโมงยามที่มืดมิด

วรรณกรรมสุดจินตนาการผลงานของ “ฌูเซ่ ซารามากู” นักเขียนชาวโปรตุเกสเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ที่จะพาไปสำรวจประเด็นสังคม รัฐบาล และศีลธรรมอันค่อนข้างจะซับซ้อน

สำนักพิมพ์บทจร และบทสนทนากว่าจะเป็น หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว

หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว (One Hundred Years of Solitude) คือหนังสือแม่แบบวรรณกรรมประเภทสัจนิยมมหัศจรรย์ (magical realism) ของนักเขียนชาวโคลอมเบียเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี ค.ศ. 1982 กาเบรียล การ์เซียมาร์เกซ

5 สำนักพิมพ์ ฟิกชันไทย (ทางเลือก) ที่จะทำให้คุณอยากเดินไปที่ชั้นวรรณกรรมไทย

ในขณะที่หลายคนมีประเด็นถกเถียงถึงที่ทางการมีอยู่ของสิ่งพิมพ์ตลาดของวรรณกรรมไทยยังคึกคักด้วยทั้งการเปิดสำนักพิมพ์ทางเลือกใหม่ๆและการออกหนังสือที่มีเนื้อหาหลากหลายเพื่อเป็นตัวเลือกในตลาดและกระตุ้นให้เห็นว่าสิ่งพิมพ์ยังมีความน่าสนใจอยู่

13 ปี บุ๊คโทเปีย ร้านหนังสือในโรงรถเก่าที่พิสูจน์แล้วว่าวรรณกรรมยังไม่ตาย

20 ปี ในกรุงเทพฯ มากพอจะทำให้ตกตะกอนความคิด... นั่นคือ จุดเปลี่ยนสำคัญที่ วิรัตน์ โตอารีย์มิตร ตัดสินใจย้ายกลับไปยังบ้านเกิดอุทัยธานี และค่อยๆ ปัดฝุ่นโรงรถ ให้เป็น ร้านหนังสือ บุ๊คโทเปีย