ราวกลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี ทั่วประเทศฝรั่งเศสจะมีการจัดงานเทศกาลขนมปังเพื่อรำลึกถึงนักบุญ Saint Honoré ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักบุญอุปถัมภ์ของคนทำขนมปังรวมถึงมีการจัดการแข่งขันบาแก็ตที่อร่อยที่สุดประจำปีของแต่ละเมือง
มาร์คเช่ แซงต์ปิแยร์ เป็นตลาดค้าผ้าที่ใหญ่ที่สุดของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเปรียบได้กับย่านพาหุรัดของกรุงเทพฯ และบริเวณใกล้เคียงยังเป็นที่ตั้งของ พิพิธภัณฑ์ศิลปะอาร์ตบรูต (Art Brut) และแหล่งรวมร้านอาหารอร่อยๆ หลายสไตล์ในย่านมงมาร์ต
คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสจัดนิทรรศการ “ข่าวดีที่ดินแดนแห่งรอยยิ้ม: สามศตวรรษครึ่งแห่งการดำรงอยู่ของคณะมิสซังต่างประเทศในประเทศไทย” (L’Évangile au Pays du Sourire: Trois siècles et demi de présence des Missions étrangèresen Thaïlande) ณ กรุงปารีส เพื่อย้อนรอยประวัติศาสตร์กว่า 350 ปีของศาสนาคริสต์ในสยาม
นอกเหนือจากการเป็นมหานครแฟชั่นแล้ว กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ยังคงเหลือร่องรอยของอารยธรรม จักรวรรดิโรมันให้ผู้สนใจสายประวัติศาสตร์ได้ตามรอยอดีต ไม่ว่าจะเป็น ฟอรัม อัฒจันทร์กลางแจ้ง โรงอาบน้ำ และสะพานไม้ที่เชื่อมเกาะซิเต้กับฝั่งซ้ายของแม่น้ำแซน
ในขณะที่ศิลปินยุคก่อนนิยมเขียนภาพจากเรื่องเล่า ตำนานปรัมปรา และใช้เทคนิคที่เน้นความชัดเจนของเส้นและรูปทรง ทว่าเมื่อย่างเข้าสู่ปลายศตวรรษที่ 19 ศิลปะยุคเก่ากลับถูกท้าทายด้วยความแปลกใหม่ของวิถีทางแห่งศิลปะที่สื่อถึงชีวิตร่วมสมัย อิมเพรสชันนิสม์ โดยมี โคลด์ โมเนต์ เป็นหัวขบวนคนสำคัญ
การถอดความหมายของงานศิลปะใน ถ้ำลาสโกซ์ ยังไม่สิ้นสุดแม้จะมีการค้นพบมาตั้งแต่ ค.ศ. 1940 มีเพียงเจ้าหน้าที่และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับงานศึกษาซ่อมแซมเท่านั้นจึงจะสามารถเข้าไปชมของจริงในถ้ำได้ และการชมออนไลน์ในรูปแบบ Virtual Tour
L'Arc de Triomphe, Wrapped โปรเจกต์ ศิลปะการห่อหุ้ม โดย คริสโต (Christo) และ ฌาน-โคลด (Jeanne-Claude) ศิลปินคู่สามีภรรยาผู้ล่วงลับที่โด่งดังกับงานศิลปะสเกลขนาดมหึมาเน้นการห่อหุ้มสถานที่สำคัญต่างๆ ทั่วโลก อาทิ อาคารรัฐสภา Reichstag ในเบอร์ลิน สะพาน Pont Neuf ในปารีส และล่าสุดประตูชัยฝรั่งเศส
เปิดประตูอาร์ตแกลเลอรียุคหิน ถ้ำลาสโกซ์ (Lascaux) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นงานศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ อายุเฉียด 20,000 ปี นับรวมได้ 2,000 ภาพ
#ParaEmojis2024 แคมเปญใหม่หลังปารีสรับไม้ต่อจากโตเกียวในการเป็นเจ้าภาพ พาราลิมปิกเกมส์ 2024 ชวนมองความแตกต่างให้กลายเป็นเรื่องปกติ