Tag: ประวัติศาสตร์
สำรวจ ภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งใหม่ อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา

เมื่อวันที่ 27-28 ตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา กรมศิลปากรได้สำรวจแหล่งภาพเขียนสีแหล่งเดิม 6 แห่ง ได้แก่ ต่อเนื่องด้วยการสำรวจพบแหล่งภาพเขียนสีแหล่งใหม่ล่าสุดอีก จำนวนอีก 5 แหล่ง ทั้งหมดอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา

ย้อนไทม์ไลน์กำเนิดธง สู่การสร้างชาติที่มาพร้อมการสร้าง ธงชาติไทย

ย้อนไทม์ไลน์กว่าจะเป็น ธงไตรรงค์ และ ธงชาติไทย มนุษย์เริ่มใช้ธงครั้งแรกเมื่อไร และทราบหรือไม่ว่าธงนอกจากจะเป็นสัญลักษณ์ของชาติต่างๆ แล้วก็ยังทำหน้าที่ต่อสู้ในเวทีการเมืองต่างๆ ด้วย Sarakadee Lite ชวนไปค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ในธงกัน

ประวัติศาสตร์ เรือดำน้ำ จากอังกฤษสู่ เรือ ส. สับมะรีน ไทย

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ เรือดำน้ำ จากเรือกึ่งดำน้ำ ลำแรกของโลกที่เกิดขึ้นในอังกฤษ สู่เรือดำน้ำลำแรกของไทย และเรือดำน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก

สาส์นสมเด็จ บันทึกบทสนทนาระหว่าง นายช่างแห่งสยาม และบิดาประวัติศาสตร์ไทย

หนังสือชุด สาส์นสมเด็จ แต่งโดย สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีทั้งหมด 10 เล่ม เป็นการรวมลายพระหัตถ์โต้ตอบในเชิงสันทนาการระหว่าง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

เบื้องหลังงาน อนุรักษ์ฟิล์มกระจก แสงเงาที่นำพา “อดีต” ข้ามกาลเวลา

เปิดกล่องไม้สักที่ใช้บรรจุแผ่น ฟิล์มกระจก เพื่อชมเบื้องหลังงาน อนุรักษ์ฟิล์มกระจก โดย สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ซึ่งเก็บฟิล์มกระจกมากที่สุดในไทย

The Last Czars : อวสานพระเจ้าซาร์ จุดเปลี่ยน ราชวงศ์โรมานอฟ

The Last Czars เป็นภาพยนตร์กึ่งสารคดี (Docufiction) ที่เล่าถึงอวสานพระเจ้าซาร์ วาระสุดท้ายของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียอันเป็นสมัยสุดท้ายของระบอบราชานิยมในประเทศรัสเซีย

บทบาทสตรี และ New Normal ฉบับ จอมพล ป. พิบูลสงคราม

เมื่อเอ่ยถึง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ภาพหนึ่งที่นึกถึงคืองานด้านสร้างชาติ สร้างวัฒนธรรมใหม่แบบ New Normal การเปลี่ยนประเทศสู่สมัยใหม่ให้ทัดเทียมอารยะ พร้อมเร่งสร้าง “สำนึกความเป็นไทย” 

โรงหนังไดร์ฟ-อิน จากโรงหนังเพื่อครอบครัว สู่ความโรแมนติกของหนุ่มสาวอเมริกัน

โรงหนังไดร์ฟ-อิน แห่งแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ เกิดขึ้นที่เมืองแคมเดน รัฐนิวเจอร์ซี อเมริกา เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1933 ปัจจุบันโรงหนังไดร์ฟ-อิน กำลังกลับมาเพราะการเว้นระยะห่างป้องกันโควิด-19

คณะราษฎร และมรดกทางสถาปัตยกรรมที่ซ่อนนัยแห่งการเมือง

สถาปัตยกรรมยุคคณะราษฎรเน้นรูปแบบหลังคาเรียบ หรือ หลังคาตัดตามแบบสถาปัตยกรรมยุคสมัยใหม่ ที่เรียกสถาปัตยกรรมโมเดิร์น เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ที่สื่อว่าไทยกำลังก้าวสู่ความทันสมัย