ไปรษณีย์ไทยได้เปิดให้บริการส่งไปรษณียภัณฑ์ในพื้นที่ของรัฐสภาเป็นเวลากว่า 27 ปี และได้ย้ายที่ทำการไปรษณีย์รัฐสภาจากอาคารรัฐสภาหลังเดิมมายังสัปปายะสภาสถาน โดยในโอกาสพิเศษนี้ทางไปรษณีย์ไทยจึงได้จัดทำตราประจำวันที่ออกแบบใหม่โดย ชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา
Re-Thai การรีดีไซน์เติมความร่วมสมัยและความเป็นไปได้ใหม่ให้กับโปรดักต์ไทย ๆ โปรเจคต์โดย Taylor O หรือ เต-ธีรพล โอเจริญ เริ่มด้วย ระนาด และ ขิม สองเครื่องดนตรีไทยในสไตล์โมเดิร์น
ทาคาชิ มุราคามิ (Takashi Murakami) ศิลปินชื่อดังชาวญี่ปุ่นเจ้าของผลงานดอกไม้หน้ายิ้มสีสันสดใสที่ฮิตไปทั่วโลกได้นำคาแรกเตอร์การ์ตูนโดราเอมอน มาผสมผสานกับลายซิกเนเจอร์ของเขาสำหรับจัดแสดงในเทศกาลศิลปะ Roppongi Art Night 2021 ที่ประเทศญี่ปุ่น
ครั้งแรกที่ CEA ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น ผนึกกำลังกับศิลปินและผู้คนในแดนอีสานจัด เทศกาลอีสานสร้างสรรค์ 2564 (Isan Creative Festival 2021) ภายใต้แนวคิด “Isan Crossing: อีสานโคตรซิ่ง” จัดเต็มการสร้างสรรค์ในเสน่ห์แดนอีสาน
ถอดนิยาม “ความเป็นทางการ” ฉบับญี่ปุ่น จากชุด ยูนิฟอร์มเชิญรางวัล ในโอลิมปิก 2020 ออกแบบโดย ยามากูชิ โซได (Yamaguchi Sodai) ดีไซเนอร์ผู้อยู่เบื้องหลัง ซึ่งเลือกที่จะใส่เอกลักษณ์ด้านสิ่งทอที่เป็นรากเหง้าอันแข็งแรงของญี่ปุ่นลงไป ทว่าก็ไม่ลืมผสานนวัตกรรมสมัยใหม่ด้วย
สันติ ลอรัชวี นักออกแบบที่มีผลงานทั้งทางด้านศิลปะ (Fine Art) และงานออกแบบ (Design) และยังมีผลงาน หนังสือเช่น สันติวิธีที่ ๑ หรืองานแปลอย่าง พอล แรนด์ บทสนทนากับนักเรียน อีกทั้งยังทำงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนและเปิดพื้นที่ PRACTICALschool of design ส่งเสริมการค้นหาการเรียนรู้ด้านการออกแบบและสร้างสรรค์
Olympic Games Tokyo 2020 ณ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่นเจ้าภาพใส่ใจในรายละเอียดงานดีไซน์ที่น้อยแต่มาก เก็บทุกรายละเอียดที่พวกเขาต้องการสื่อสารกับชาวโลกมาไว้ในทุกองค์ประกอบของโอลิมปิก ไม่เว้นแม้แต่ งานดีไซน์แห่งชัยชนะ ที่ชาวโลกจะได้เห็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่างที่นักกีฬาผู้ชนะการแข่งขันขึ้นมารับเหรียญรางวัล
การใช้ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนตัวหนังสือในวงการกีฬาเกิดขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 เมื่อ ค.ศ.1964 ที่ประเทศญี่ปุ่น และการแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่ญี่ปุ่นทางทีมดีไซเนอร์ได้ออกแบบพิกโตแกรมโดยได้รับแรงบันดาลใจจากชุดพิกโตแกรมเมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อเชิดชูดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่นที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในวงการกราฟิกดีโซน์ทั่วโลก
PAVA Architects โดย พชรพรรณ รัตนานคร และ วารัตน์ ลิ่มวิบูลย์ เป็นที่รู้จักจากการออกแบบมาสเตอร์แพลน และพิพิธภัณฑ์ของโครงการเก๊าไม้ เอสเตท 1955 บูรณะโรงบ่มใบยาสูบอายุกว่า 60 ปีในจังหวัดเชียงใหม่ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวครบทั้งเชิงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และธรรมชาติ