หลังจากที่ญี่ปุ่นได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรก ค.ศ.1964 มังงะเนื้อหาแนวกีฬาก็กลายเป็นกระแสและได้รับความนิยมจนไม่ได้เป็นเพียงซอฟต์พาวเวอร์ในเชิงเศรษฐกิจ แต่มังงะแนวกีฬายังเป็นพลังสำคัญในการบ่มเพาะนักกีฬารุ่นใหม่ กลายเป็นแรงบันดาลใจของนักกีฬาญี่ปุ่นในรุ่นต่อ ๆ มา
The Witches of the Orient สารคดีเบื้องหลังความสำเร็จของทีมวอลเลย์บอลหญิงชุดโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากทีมระดับบริษัทของ บริษัทสิ่งทอนิฉิโบะ แห่งเมืองไคซุกะ
ถอดนิยาม “ความเป็นทางการ” ฉบับญี่ปุ่น จากชุด ยูนิฟอร์มเชิญรางวัล ในโอลิมปิก 2020 ออกแบบโดย ยามากูชิ โซได (Yamaguchi Sodai) ดีไซเนอร์ผู้อยู่เบื้องหลัง ซึ่งเลือกที่จะใส่เอกลักษณ์ด้านสิ่งทอที่เป็นรากเหง้าอันแข็งแรงของญี่ปุ่นลงไป ทว่าก็ไม่ลืมผสานนวัตกรรมสมัยใหม่ด้วย
Olympic Games Tokyo 2020 ณ กรุงโตเกียว ญี่ปุ่นเจ้าภาพใส่ใจในรายละเอียดงานดีไซน์ที่น้อยแต่มาก เก็บทุกรายละเอียดที่พวกเขาต้องการสื่อสารกับชาวโลกมาไว้ในทุกองค์ประกอบของโอลิมปิก ไม่เว้นแม้แต่ งานดีไซน์แห่งชัยชนะ ที่ชาวโลกจะได้เห็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่างที่นักกีฬาผู้ชนะการแข่งขันขึ้นมารับเหรียญรางวัล
World Flags คือโครงการที่กลุ่มศิลปินญี่ปุ่นร่วมกันสร้างสรรค์ คาแรคเตอร์ดีไซน์ ที่ใช้ลายเส้นสไตล์มังงะและแอนิเมะ ผสมกับชุดซามูไรและธงชาติประเทศต่าง ๆ ที่เข้าร่วม คาแรกเตอร์ประเทศไทย ทางทีมให้ชื่อว่า บัวขาว (Buacao)
Tomorrow’s Leaves ภาพยนตร์แอนิเมชันขนาดสั้น ฉายรอบปฐมทัศน์ในวันเปิด โอลิมปิก 2020 สร้างสรรค์โดย โยชิอากิ นิชิมูระ โปรดิวเซอร์ Studio Ghibli และผู้ก่อตั้ง Studio Ponoc
ภาพยนตร์สารคดี Tokyo Olympiad สร้างโดย คง อิชิกาวา (Kon Ichikawa) ผู้กำกับและผู้สร้างภาพยนตร์ชั้นครูของญี่ปุ่น ผู้ทำให้สารคดีกีฬาเป็นมากกว่าแค่บันทึกประวัติศาสตร์การเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกครั้งแรกของญี่ปุ่น
รวมไฮไลต์ที่ประเทศญี่ปุ่นเจ้าภาพ โอลิมปิก 2020 ตั้งเป้าหมายชูประเด็นการสร้างสังคมสีเขียวผ่านสัญลักษณ์ต่าง ๆ ภายใต้แนวคิดในการจัดงาน “Be better, together - for the planet and the people”
การใช้ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนตัวหนังสือในวงการกีฬาเกิดขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 เมื่อ ค.ศ.1964 ที่ประเทศญี่ปุ่น และการแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่ญี่ปุ่นทางทีมดีไซเนอร์ได้ออกแบบพิกโตแกรมโดยได้รับแรงบันดาลใจจากชุดพิกโตแกรมเมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อเชิดชูดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่นที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในวงการกราฟิกดีโซน์ทั่วโลก