นามธรรมอันเป็นปัญหาใหญ่เชิงความคิดในหลายยุคสมัยอย่าง ความรัก ยังคงเป็นปริศนาทางคำอธิบายที่แทบจะไม่มีวันคลี่คลายได้ทั้งเชิงการนิยามขอบเขตและเชิงการบรรยายความรู้สึก เนื่องด้วยความรักเชื่อมโยงกับความหมายของคำอื่นๆ ทั้งความโรแมนติก ความใคร่ จนไปถึงความหมายชีวิต หรือแม้แต่ทัศนะและวัฒนธรรมทางการเมืองก็แทบจะไม่เคยตัดขาดกันได้อย่างสิ้นเชิงกับขอบเขตของความรัก
เส้นทางชีวิตรักของ เฟื้อ หริพิทักษ์ ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นครูใหญ่แห่งวงการศิลปะ กับ หม่อมราชวงศ์ถนอมศักดิ์ กฤดากร คือตำนานศิลปินไส้แห้งกับหญิงสูงศักดิ์ และธีระ วานิชธีระนนท์ แห่ง 333 Gallery ผู้ซึ่งเก็บสะสมและรวบรวมสิ่งของ เอกสารและผลงานต่างๆของอาจารย์เฟื้อเป็นจำนวนมากได้นำบางส่วนมาจัดแสดงในรูปแบบ archive หรือแบบจดหมายเหตุ
13 กุมภาพันธ์ ถูกจัดให้เป็น Galentine’s Day หรือ วันกาเลนไทน์ ที่มาจากคำว่า Girl + Valentine’s Day มาจากซีรีส์ซิตคอมชื่อดัง Parks and Recreation ฉายในปึ ค.ศ.2010
นอกจากการค้นพบ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ในปี ค.ศ. 1915 ของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ อีกหนึ่งสิ่งที่คนทั่วโลกให้ความสนใจคือเรื่องราวชีวิตส่วนตัวและการขุดคุ้ยเรื่องรักลับ ๆ ของเขา ซึ่งสิ่งที่ช่วยยืนยันเรื่องราวความรักความสัมพันธ์ในสมัยนั้นก็คือ จดหมายรัก ระหว่างเขากับภรรยา
ความรักมักถูกเปรียบเปรยเพื่อการสร้างความเข้าใจ อุปมาของห้วงแห่งความรักเป็นได้ตั้งแต่สถานการณ์ในชีวิตประจำวันไปถึงการถูกแปรเป็นงานศิลปะ ภาพยนตร์ ดนตรี และที่คุ้นเคยที่สุดคือ อุปมาความรักในโลกของวรรณกรรม ดั่งวรรณกรรมไทยร่วมสมัย 3 เรื่อง ที่เราขอชวนมาอ่าน “ทฤษฎีรัก” ที่ซ่อนอยู่ในตัวอักษรเหล่านั้น