ตามหารสชาติ อาหารกรุงเทพฯ ผ่าน 5 “เชฟรุ่นใหม่” ผู้มีส่วนสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนซีนอาหารและร้านอาหารในกรุงเทพฯ ให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และเติบโตขึ้นไปอยู่แนวหน้าของเมืองอาหารระดับโลก
โพทง (Potong) ร้านอาหารไฟน์ไดน์นิ่งคอนเซ็ปต์ Progressive Thai-Chinese Cusine ที่เปลี่ยนห้างขายยาเก่าแก่อายุกว่า 120 ปีมาเป็นร้านอาหาร บาร์ ที่เสิร์ฟประวัติศาสตร์สำเพ็ง เยาวราชควบคู่กัน
ในฐานะเมืองหลวง “กรุงเทพฯ” ไม่ได้มีเพียงร้านอาหารไทยจากท้องถิ่นทั่วประเทศให้ได้เลือกลิ้มรสเท่านั้น เสน่ห์อาหารการกินที่บ่งบอกประวัติศาสตร์การเติบโตทางเศรษฐกิจกรุงเทพฯ ได้เป็นอย่างดีคือ “สำรับอาหารนานาชาติ” ที่นักกินสามารถเลือกลิ้มรสดั้งเดิมของอาหารจากประเทศต่าง ๆ ได้หลากหลาย
ก่อนที่จะเป็นเมืองหลวงที่มีชื่อยาวที่สุดในโลกอย่าง กรุงเทพฯ ชาวต่างชาติรู้จักพื้นที่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนร่างในชื่อ บางกอก มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
ตามรอยกิจกรรม โต๊ะชิมรสชาติ (Taste’s Table) ณ พิพิธบางลำพู ที่จะพาไปเปิดประสบการณ์ด้านอาหารประจำย่าน บางลำพู พิพิธภัณฑ์อาหารถิ่นกรุงเทพฯ ที่ยังมีลมหายใจ
การขยายพื้นที่สร้างสรรค์ เทศกาลงานออกแบบกรุงเทพฯ 2565 หรือ Bangkok Design Week 2022 มาสู่เขต พระนคร ทำให้เกิดเทศกาลย่อย รวม-มิตร-เมือง ออกแบบเส้นทางความสร้างสรรค์โดย Urban Ally
ชวนปักหมุด ไหว้ศาลเจ้า กับ 9 ศาลเจ้าลับๆ ขนาดกระทัดรัดในพื้นที่เยาวราช สำเพ็งที่ซ่อนความสวยงามของศิลปะ และสถาปัตยกรรมจีนโบราณไว้อย่างสมบูรณ์
เปิด เดอะ ล้ง 1919 ริเวอร์ไซด์ เฮอริเทจ เดสติเนชั่น ให้ได้สักการะ เจ้าแม่หม่าโจ้ว 3 ปาง ก่อนพลิกโฉมสู่แลนด์มาร์กด้านสุขภาพ The Integrated Wellness Destination
กว่า 105 ปี มาแล้วที่ สถานีกรุงเทพ หรือ สถานีหัวลำโพง ได้ทำหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน สร้างความคึกคักด้านเศรษฐกิจ และสร้างชีวิตของชุมชนใหม่ใจกลางกรุงให้เกิดขึ้น Sarakadee Lite ชวนไปบันทึกประวัติศาสตร์ สถานีหัวลำโพง กันอีกครั้ง กับ 11 จุดไฮไลต์