Search results for: หนังสือ
84 Paragraphs of Consolations : โลกสิ้นหวังในศักราชใหม่ที่ไม่มีวันมาถึง

เรื่องรักที่ไม่ครอบครอง ชีวิตที่กำลังล้มตาย ความสัมพันธ์ที่ยึดใครบางคู่ไว้ในโลกเผด็จการ และบรรยากาศมืดทึมหลังการล่มสลายของสังคม องค์ประกอบทั้งหมดนี้คงคุ้นเคยกันดีสำหรับคนที่เคยอ่านงานของ “วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา” ซึ่งในครั้งนี้องค์ประกอบทั้งหมดที่ว่ามายังคงปรากฏชัดเจนในนวนิยายขนาดสั้นเล่มล่าสุด 84 Paragraphs of Consolations:แปดสิบสี่ย่อหน้าของการปลอบประโลม

ขายหัวเราะ แจกฟรี การ์ตูน ฉบับ KnowCovid รู้ทันโควิด

เดือนเมษายนที่ผ่านมา ขายหัวเราะ หยุดตีพิมพ์ แต่ไม่หยุดทำงาน ด้วยการเขียนการ์ตูนย่อยความรู้ยากๆ เกี่ยวกับโควิด-19 ให้เป็นการ์ตูนที่เข้าใจง่าย เผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเป็นอีกทางให้ประชาชนได้ป้องกันตัว และล่าสุดขายหัวเราะ ฉบับ KnowCovid รู้ทันโควิด แจกฟรีความรู้ย่อยง่ายเรื่องโควิด-19 ให้กับประชาชน

มหา’ลัย เหมืองแร่ ภาพยนตร์ที่ว่าด้วยชีวิตคนเหมืองของ อาจินต์ ปัญจพรรค์

26 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ภาพยนตร์ มหา’ลัย เหมืองแร่ (The Tin mine) เข้าฉายเป็นวันแรก ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นผลงานการกำกับและเขียนบทของ เก้ง-จิระ มะลิกุล ดัดแปลงจากหนังสือ เหมืองแร่ ของ อาจินต์ ปัญจพรรค์ ปัจจุบันมีให้ชมย้อนหลังทาง Netflix

9 ข้อควรรู้ก่อนเข้าหอสมุด โบราณสถาน และพิพิธภัณฑ์แบบ new normal

22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถานที่เก็บค่าเข้าชม รวมทั้งหอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ หอจดหมายเหตุนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และหอเกียรติยศ ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 กลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ภายใต้การเข้าชมแบบ new normal

เส้นทางสู่ฮอกวอตส์ของ มักเกิล Apolar ผู้ร่ายคาถาให้ 20 ปี แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับไทย

อาชว์ - อรุษ เอ่งฉ้วน a.k.a. Apolar ศิลปินรุ่นใหม่เป็นผู้ได้รับคัดเลือกจากหมวกคัดสรรให้สร้างสรรค์ภาพปกและภาพประกอบใหม่ทั้งหมดของหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาไทยทั้ง 7 เล่ม เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปีของการตีพิมพ์แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาไทย ในปี ค.ศ. 2020

ข้างหลังภาพ Night Talk โดย เจี๊ยบ ประชากุล ศิลปินเอเชียคนแรกรางวัล BP Portrait Award

เบื้องหลังกว่าจะเป็นภาพ Night Talk และเส้นทางการสร้างตัวเองเป็นศิลปินวาดภาพของ เจี๊ยบ ประชากุล ศิลปินชาวไทยและชาวเอเชียคนแรกที่คว้ารางวัลชนะเลิศ BP Portrait Award 2020 จาก National Portrait Gallery ประเทศอังกฤษมาครองได้

ย้อนรอยคริสต์ในสยาม จากศาสนาสู่แว่นตา ยา กล้อง โรงพิมพ์ โรงพยาบาล โรงเรียนฝรั่ง

นับตั้งแต่มีการประกาศเผยแผ่คริสต์ศาสนาอย่างเป็นทางการในสยามโดยสันตะสำนักกรุงโรมเมื่อกว่า 350 ปีที่แล้วตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายทั้งทางการเมือง การทูต และความก้าวหน้าทางศิลปะ

10 ปี ลุงบุญมีระลึกชาติ จากหนังเล็กๆ สู่รางวัลปาล์มทองคำ

ครบรอบ 10 ปี ลุงบุญมีระลึกชาติ เป็นภาพยนตร์ผลงานการกำกับของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล คนไทยคนแรก และผู้กำกับในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คนแรกที่ชนะรางวัลปาล์มทองคำ สำหรับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์ ครั้งที่ 64

จาก โชติ แพร่พันธุ์ ถึง ยาขอบ : การเดินทางของนักเขียน ผู้ชนะสิบทิศ

ยาขอบ เป็นนามปากกาของ โชติ แพร่พันธุ์ นักเขียนที่มีผลงานตีพิมพ์สุดอมตะ นักอ่านส่วนใหญ่มักรู้จักในฐานะผู้แต่ง ผู้ชนะสิบทิศ งานดัดแปลงพงศาวดารพม่าสู่วรรณกรรมไทยที่ได้รับความนิยมจนต่อยอดมาเป็นสื่อภาพยนตร์ ละครวิทยุ-โทรทัศน์และยังคงเป็นวรรณกรรมที่ได้รับความนิยมถึงปัจจุบัน