มาร์คเช่ แซงต์ปิแยร์ เป็นตลาดค้าผ้าที่ใหญ่ที่สุดของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเปรียบได้กับย่านพาหุรัดของกรุงเทพฯ และบริเวณใกล้เคียงยังเป็นที่ตั้งของ พิพิธภัณฑ์ศิลปะอาร์ตบรูต (Art Brut) และแหล่งรวมร้านอาหารอร่อยๆ หลายสไตล์ในย่านมงมาร์ต
พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนชุดใหม่ อาโรคยปณิธาน เล่าถึงประวัติศาสตร์โรคระบาดในไทยที่เกี่ยวโยงกับความเชื่อ พุทธศาสนา ประเพณี
คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสจัดนิทรรศการ “ข่าวดีที่ดินแดนแห่งรอยยิ้ม: สามศตวรรษครึ่งแห่งการดำรงอยู่ของคณะมิสซังต่างประเทศในประเทศไทย” (L’Évangile au Pays du Sourire: Trois siècles et demi de présence des Missions étrangèresen Thaïlande) ณ กรุงปารีส เพื่อย้อนรอยประวัติศาสตร์กว่า 350 ปีของศาสนาคริสต์ในสยาม
5 ย่านเด่นเก่าแก่เกินกว่าร้อยปี มากระตุ้นต่อมลิ้น และกระตุกข้อเข่าให้ออกเดินตามรอยความอร่อย ได้แก่ “บางลำพู” ตลาดประชิดเกาะรัตนโกสินทร์ “นางเลิ้ง” ตลาดบกสู่ฟูดคอร์ตความอร่อยริมกรมกระทรวง “ทรงวาด” ย่านริมน้ำหลังไชนาทาวน์ที่รุ่มรวยด้วยของดี “ศรีย่าน” สี่แยกเล็กๆ ที่มักมองผ่านบนเส้นสามเสน และ “คลองสาน-ท่าดินแดง” ย่านที่จะพาเราทวนเข็มนาฬิกาไปกับชุมชนริมน้ำ
ในกรุงเทพฯ มีหลายบ้านที่เปิดประตูต้อนรับนักชิมเพื่อแบ่งปันความอร่อยของอาหารสูตรพิเศษของคนในครอบครัว แต่ละจานล้วนมีสูตรเด็ดเคล็ดลับในการใช้วัตถุดิบ กรรมวิธีการปรุง และรสมือเฉพาะตัวซึ่งถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นเป็น "สำรับสามัญประจำบ้าน"
โพทง (Potong) ร้านอาหารไฟน์ไดน์นิ่งคอนเซ็ปต์ Progressive Thai-Chinese Cusine ที่เปลี่ยนห้างขายยาเก่าแก่อายุกว่า 120 ปีมาเป็นร้านอาหาร บาร์ ที่เสิร์ฟประวัติศาสตร์สำเพ็ง เยาวราชควบคู่กัน
ส่องลายคราม สืบหาจีนกรุงศรีฯ ผลงานเขียนและรวบรวมข้อมูลเครื่องลายครามเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา โดย พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมและสังคมจีนในไทย และนักสะสมเครื่องลายคราม
สว่างไสว ศิวิไล จัดแสดงผลงานศิลปะของ 15 ศิลปินผ่านสื่อศิลปะหลายรูปแบบตั้งแต่จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปะจัดวาง งานวิดีโอ และเวิร์กชอปโดยปรับพื้นที่ของศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี และ เซ็นทรัล: ดิ ออริจินัล สโตร์ ให้กลายเป็นอาร์ตสเปซสาธารณะ
จากการสำรวจของกลุ่มลูกว่าพบว่าเสาของศาลาการเปรียญวัดใหญ่สุวรรณารามที่มีลวดลายไทยโบราณนั้นมีอยู่ด้วยกัน 16 ต้น (8 คู่) และมีเสาที่ลวดลายไม่ซ้ำกันอยู่ถึง 12 ต้น ด้วยความคิดที่ต้องการอนุรักษ์ศิลปะท้องถิ่น จึงเริ่มลอกลายจากเสาจริงและนำมาจัดแสดงไว้ที่หอศิลป์สุวรรณารามเพื่อจำลองให้เห็นความงดงามของลายฉบับเต็ม