รางวัลโนเบล สาขาการแพทย์ ใน ค.ศ. 2023 นี้ ได้ประกาศให้แก่ผู้ที่ค้นพบและมีแนวคิดที่จะใช้ mRNA มาเป็นวัคซีน 2 ท่านก็คือ ดร.คาทาลิน คาริโก (Dr. Katalin Karikó) และ ดร.ดรู ไวส์แมน (Dr. Drew Weissman)
ชวนพ่อแม่และผู้ปกครองมาทำความเข้าใจกับ 7 ประเด็นประเมินความเสี่ยง ก่อนพาเด็กๆ ไปฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
จุฬาฯ เผยความคืบหน้าวัคซีนโควิด-19 จากทีมนักวิจัยไทย 2 ชนิด ได้แก่ วัคซีน ChulaCov19 ชนิด mRNA และ วัคซีนจุฬาฯ-ใบยา วัคซีนชนิดโปรตีนซับยูนิตสกัดจากใบพืชชนิดแรกของไทย
เภสัชกรร้านยา เป็นหนึ่งในบุคลากรด่านหน้าที่ทำงานระดับชุมชม ทุกวันนี้ เภสัชกรร้านยาต้องใกล้ชิดผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 แต่กลับกลายเป็นกลุ่มด่านหน้าที่ถูกมองข้ามและไม่ได้ถูกนับรวมอยู่ในนโยบายวัคซีนบูสเตอร์เข็ม 3
รู้จัก วัคซีน HXP–GPOVac วัคซีนประเภทเชื้อตายชนิดลูกผสม (Inactivated chimeric vaccine) ผลิตด้วยเทคโนโลยีไข่ไก่ฟัก พัฒนาโดยทีมนักวิจัยไทย มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดโมเล เครื่องแบ่งและบรรจุวัคซีนอัตโนมัติ (Automate Vaccine) เพื่อช่วยลดงานของแพทย์ พยาบาลด่านหน้า โดยเฉพาะทีมฉีดวัคซีน
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศเตรียมทดสอบ วัคซีนใบยา หรือ วัคซีนใบยาสูบ กับอาสาสมัครภายในเดือนกันยายน 2564 พร้อมกันนั้นก็ได้เร่งพัฒนาวิจัย วัคซีนใบยาเจน 2 รองรับไวรัสกลายพันธุ์ไปควบคู่กัน
ทำไม โควิดสายพันธุ์เดลตา ที่กำลังกลายพันธุ์สู่สายพันธุ์ใหม่ เดลตาพลัส ถึงถูกจับตาจากหลายประเทศว่าเป็น สายพันธุ์ที่น่ากังวล และแผนวัคซีนที่ไทยกำลังวางไว้จะสามารถวิ่งตามสายพันธุ์ใหม่นี้ได้ทันหรือไม่เป็นอีกประเด็นที่น่าจับตา
ล่าสุดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา วัคซีน ChulaCov19 ได้ทำการทดสอบการฉีดวัคซีนให้กับอาสาสมัครผู้ผ่านการคัดกรองที่มีสุขภาพดีระยะที่ 1 และต่อเนื่องในระยะที่ 2 เพื่อดูการตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อวัคซีน