21 กันยายน 2563 ครบรอบการจากไปปีที่ 35 ปีของนักเขียนนิยายจีนกำลังภายในชื่อดัง โกวเล้ง ผู้ฝากผลงานเลื่องชื่อจำนวนมากและสร้างตัวละครในยุทธภพที่จับใจผู้อ่านอย่าง ลี้คิมฮวง, ชอลิ่วเฮียง, เล็กเซี่ยวหงส์ ซาเสียวเอี้ย, เซียวฮื้อยี้, และ เซียวจับอิดนึ้ง
จิตร ภูมิศักดิ์ ชื่อนี้คือนักเขียน นักคิด นักเคลื่อนไหวที่ผลิตงานอันเป็นที่จดจำมากมาย ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาษาศาสตร์ วรรณกรรม งานแปลจากภาษาอื่น งานวิชาการ หนังสือแนวคิดด้านการเมือง ศิลปะ และประวัติศาสตร์ ผลงานของจิตรไม่ใช่เพียงงานวรรณกรรมหรือวิชาการเพื่อความรู้เท่านั้น แต่งานเขียนของจิตรยังประกาศจุดยืนทางความคิดของเขาซึ่งอยู่ฟากตรงข้ามกับเหล่าอำนาจนิยม ศักดินา และเผด็จการอีกด้วย
เที่ยววัง ท่องห้องสมุดและโลกของหนังสือ เมื่อ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เปิดตัวห้องสมุดในพิพิธภัณฑ์พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน มีทั้งหนังสือหมวดทั่วไปและหมวดพิเศษเกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์ของพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน และพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
8 เรื่องสั้นไทยดีเด่นที่เข้ารอบ Short Lite หรือรอบรองสุดท้ายสำหรับรางวัล SEA Write ประจำปี พ.ศ.2563 ซึ่งมีทั้งนักเขียนที่เคยได้รับรางวัล เคยเข้ารอบและเพิ่งเข้ารอบครั้งแรกในปีนี้ ที่หลายคนต่างลุ้นว่าจะเกิดปรากฏการณ์ดับเบิลซีไรต์อีกหรือไม่
มู่หลาน คือใคร มู่หลานมีตัวตนอยู่จริงไหม Sarakadee Lite ชวนไปหาคำตอบถึงวีรสตรีมู่หลานผู้ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ของการรักชาติ จากบทกวี สู่เจ้าหญิงดิสนีย์ และภาพยนตร์
จากวรรณกรรมเยาวชนคสาสสิกสุดโด่งดังของ ฟรานเซส ฮอดจ์สัน เบอร์เนทท์ สู่ The Secret Garden ฉบับภาพยนตร์ที่ได้วิสัยทัศน์ของ มาร์ก มันเดน (Marc Munden) ผู้กำกับชาวอังกฤษเจ้าของ 2 รางวัลจากสถาบันภาพยนตร์อังกฤษ (BAFTA) ร่วมด้วยโปรดิวเซอร์มากประสบการณ์ในการปั้นโปรเจกต์ภาพยนตร์แฟนตาซีเยาวชนอย่างเดวิด เฮย์แมน มาร่วมเนรมิตสวนลับครั้งใหม่นี้ให้สุดสะพรั่งตระการตา
ประกาศผล 8 เรื่องสั้นที่เข้ารอบสุดท้าย Short List รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์)
หนังสือชุด สาส์นสมเด็จ แต่งโดย สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีทั้งหมด 10 เล่ม เป็นการรวมลายพระหัตถ์โต้ตอบในเชิงสันทนาการระหว่าง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ศิลปวิทยาการจากสาส์นสมเด็จ นิทรรศการจัดแสดงโบราณวัตถุที่เกี่ยวเนื่องกับ 2 บุคคลสำคัญผู้อยู่เบื้องหลังงานด้านประวัติศาสตร์ในเมืองไทย นั่นก็คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์