การเกิดขึ้นของ โอลิมปิก ไม่ได้มีผลแค่การพัฒนาวงการกีฬาเท่านั้น แต่โอลิมปิกยังเกี่ยวพันโดยตรงกับการพัฒนาอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงวงการสถาปัตยกรรม เห็นได้จากประวัติศาสตร์การพัฒนางานดีไซน์ของ สนามกีฬา ที่ส่วนมากล้วนมีจุดเริ่มจากมหกรรมกีฬาระดับโลกอย่าง โอลิมปิก
World Flags คือโครงการที่กลุ่มศิลปินญี่ปุ่นร่วมกันสร้างสรรค์ คาแรคเตอร์ดีไซน์ ที่ใช้ลายเส้นสไตล์มังงะและแอนิเมะ ผสมกับชุดซามูไรและธงชาติประเทศต่าง ๆ ที่เข้าร่วม คาแรกเตอร์ประเทศไทย ทางทีมให้ชื่อว่า บัวขาว (Buacao)
ประเพณีการโปรโมตโอลิมปิกผ่านภาพโปสเตอร์นั้นเริ่มต้นตั้งแต่การแข่งขันโอลิมปิกสมัยใหม่ เป็นโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรกที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ เมื่อ 125 ปีที่ผ่านมาในชื่อ ATHENS 1896
รู้จัก โอลิเวอร์ แดเมน เด็กหนุ่มอายุ 18 ปี ชาวเนเธอร์แลนด์ นักเดินทางท่องอวกาศคนแรกที่อายุน้อยที่สุดในโลกที่ได้เดินทางไปกับยาน New Shepard โดยบริษัทด้านการบินอวกาศเชิงพาณิชย์ Blue Origin ซึ่งถือเป็นก้าวแรกของคนรุ่นใหม่ที่จะช่วยสร้างเส้นทางสู่อวกาศอย่างแท้จริง
ภาพยนตร์สารคดี Tokyo Olympiad สร้างโดย คง อิชิกาวา (Kon Ichikawa) ผู้กำกับและผู้สร้างภาพยนตร์ชั้นครูของญี่ปุ่น ผู้ทำให้สารคดีกีฬาเป็นมากกว่าแค่บันทึกประวัติศาสตร์การเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกครั้งแรกของญี่ปุ่น
รวมไฮไลต์ที่ประเทศญี่ปุ่นเจ้าภาพ โอลิมปิก 2020 ตั้งเป้าหมายชูประเด็นการสร้างสังคมสีเขียวผ่านสัญลักษณ์ต่าง ๆ ภายใต้แนวคิดในการจัดงาน “Be better, together - for the planet and the people”
การใช้ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนตัวหนังสือในวงการกีฬาเกิดขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 เมื่อ ค.ศ.1964 ที่ประเทศญี่ปุ่น และการแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่ญี่ปุ่นทางทีมดีไซเนอร์ได้ออกแบบพิกโตแกรมโดยได้รับแรงบันดาลใจจากชุดพิกโตแกรมเมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อเชิดชูดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่นที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในวงการกราฟิกดีโซน์ทั่วโลก
เปิดที่มาของเมนูสลัดยอดนิยม ซีซาร์สลัด ที่ร้านอาหารไฟน์ไดนิงและร้านอาหารอิตาลีเกือบทุกร้านต้องมี ซึ่งที่มาของชื่อต้องบอกก่อนเลยว่าไม่เกี่ยวข้องกับ จูเลียส ซีซาร์ แต่อย่างใด
นิ/ราษฎร์ : L/Royal Monument นิทรรศการเดี่ยวในรอบ 3 ปีของ วิทวัส ทองเขียว ศิลปินผู้เลือกแล้วที่จะนำคำว่า ศิลปะ มาวิพากษ์ วิจารณ์ และบอกเล่าสถานการณ์ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองของไทย