หลังจากที่ญี่ปุ่นได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรก ค.ศ.1964 มังงะเนื้อหาแนวกีฬาก็กลายเป็นกระแสและได้รับความนิยมจนไม่ได้เป็นเพียงซอฟต์พาวเวอร์ในเชิงเศรษฐกิจ แต่มังงะแนวกีฬายังเป็นพลังสำคัญในการบ่มเพาะนักกีฬารุ่นใหม่ กลายเป็นแรงบันดาลใจของนักกีฬาญี่ปุ่นในรุ่นต่อ ๆ มา
ถอดนิยาม “ความเป็นทางการ” ฉบับญี่ปุ่น จากชุด ยูนิฟอร์มเชิญรางวัล ในโอลิมปิก 2020 ออกแบบโดย ยามากูชิ โซได (Yamaguchi Sodai) ดีไซเนอร์ผู้อยู่เบื้องหลัง ซึ่งเลือกที่จะใส่เอกลักษณ์ด้านสิ่งทอที่เป็นรากเหง้าอันแข็งแรงของญี่ปุ่นลงไป ทว่าก็ไม่ลืมผสานนวัตกรรมสมัยใหม่ด้วย
รวมไฮไลต์ที่ประเทศญี่ปุ่นเจ้าภาพ โอลิมปิก 2020 ตั้งเป้าหมายชูประเด็นการสร้างสังคมสีเขียวผ่านสัญลักษณ์ต่าง ๆ ภายใต้แนวคิดในการจัดงาน “Be better, together - for the planet and the people”
การใช้ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนตัวหนังสือในวงการกีฬาเกิดขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 เมื่อ ค.ศ.1964 ที่ประเทศญี่ปุ่น และการแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่ญี่ปุ่นทางทีมดีไซเนอร์ได้ออกแบบพิกโตแกรมโดยได้รับแรงบันดาลใจจากชุดพิกโตแกรมเมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อเชิดชูดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่นที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในวงการกราฟิกดีโซน์ทั่วโลก
คบเพลิงโอลิมปิก 2020 ออกแบบโดย Tokujin Yoshioka ดีไซน์เนอร์ชาวญี่ปุ่น ซึ่งใช้วัสดุรีไซเคิล และถอดรูปแบบมาจากดอกซากุระ 5 กลีบ โดยดอกซากุระเป็นทั้งไอโคนิกเมื่อนึกถึงญี่ปุ่น และยังเป็นสัญลักษณ์ของความสงบสุข
รอล์ฟ วอน บูเรน นักสะสมงานศิลปะและผู้ก่อตั้งแบรนด์จิวเวลรีและของตกแต่งบ้าน Lotus Arts de Vivre ได้นำศิลปะโบราณของญี่ปุ่นจำนวนกว่า 200 ชิ้นในคอลเลกชันส่วนตัวมาจัดแสดงในนิทรรศการชื่อ The Spirit of the Cherry Blossom Masterpiece Exhibition
The Spirit of the Cherry Blossom นิทรรศการคอลเลกชันผลงานสะสมระดับมาสเตอร์พีซ โดย รอล์ฟ วอน บูเรน นิทรรศการจัดแสดง เฟอร์นิเจอร์ ของแต่งบ้าน ของสะสม จำนวน 200 ชิ้น ซึ่งรอล์ฟได้รวบรวมและรักษาไว้ตลอดระยะเวลากว่า 4 ทศวรรษ โดยเป็นผลงานที่สะท้อนวัฒนธรรมและศิลปะของญี่ปุ่นที่ล้ำค่าและหาชมได้ยาก
กว่าจะมาถึงโปรเจ็กต์อนุรักษ์ งานประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น ในพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ซึ่งเป็นบานประตูหน้าต่างประดับมุกอายุกว่า 156 ปี มากถึง 114 ชิ้น
เปิดเบื้องหลังการอนุรักษ์ บานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น แห่งวัดราชประดิษฐ์ ซึ่งเป็นครั้งแรกของทีมอนุรักษ์ไทยภายใต้กรมศิลปากรกับการทำงานอนุรักษ์ชิ้นงานประดับมุกแบบญี่ปุ่น ซึ่งมีความแตกต่างจากงานประดับมุกไทย