Search results for: ศิลปะ
10 พิกัดไฮไลต์ เที่ยวตามรอย พิธีเปิดโอลิมปิกปารีส 2024

เปิดทัวร์เที่ยวตามรอย 10 สถานที่ที่ปรากฎใน พิธีเปิดโอลมปิก Paris 2024 เริ่มตั้งแต่ขึ้นขบวนรถไฟใต้ดิน ลอดสุสานลับ ก่อนที่จะปีนป่ายไปบนหลังคาอาคารต่างๆ ในเมืองกับชายปริศนาถือคบเพลิงไปทัวร์ปารีส

ย้อนรอยประวัติศาสตร์ 10 สนามกีฬาโอลิมปิก Paris 2024 จากปารีส แวร์ซาย ถึงตาฮิติ

สโลแกนของการแข่งขันโอลิมปิกและพาราลิมปิก Paris 2024 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส คือ เกมที่เปิดกว้าง เจ้าภาพจึงพยายามนำการแข่งขันเข้ามาไว้ในใจกลางเมืองเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมให้มากที่สุดโดยมีการใช้ทั้งสนามกีฬาเดิม เช่น สนามเทนนิส Roland Garros และปรับสถานที่ประวัติศาสตร์เช่นพระราชวังแวร์ซายและจตุรัสกงกอร์ดเป็นสนามกีฬาเฉพาะกิจ

พิกโตแกรม โอลิมปิก Paris 2024 : มากกว่าสัญลักษณ์ชนิดกีฬาคือเหรียญตราเกียรติยศ

การออกแบบ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนชนิดกีฬาต่างๆ ในการแข่งขันโอลิมปิกและพาราลิมปิก Paris 2024 แตกต่างจากทุกครั้งที่ผ่านมาด้วยการออกแบบให้เหมือนเหรียญตราเกียรติยศและประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ แกนสมมาตร สนามกีฬา และสัญลักษณ์ของชนิดกีฬา

จากลู่วิ่งสีม่วงถึงหน้าผาสีเขียว เปิด Look of the Games ของ Paris 2024 กับพาเลตสีน้ำเงิน แดง เขียว ม่วง

สีพาสเทล “น้ำเงิน แดง เขียว ม่วง” ถูกเลือกให้เป็น Visual Identity หรือ Look of the Games ในการตกแต่งสนามแข่งขันต่างๆ และจุดเด่นของกราฟิกคือการนำศิลปะสไตล์อาร์ตเดโคมาเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์และกีฬา

รู้จัก Lalalhuay ศิลปินที่ชอบวาดอาหารและผู้อยู่เบื้องหลังลายเส้น Butterbear

ทำความรู้จัก Lalalhuay หรือ สวย-ศิรดา วงศ์ทองศรี ศิลปินผู้อยู่เบื้องหลังภาพวาดอาหารสีละมุน ควบตำแหน่งศิลปินมัมหมีผู้มีส่วนร่วมออกแบบ น้องเนย ให้กับแบรนด์ Butterbear

เปิดตู้เสื้อผ้า ชุดนักกีฬาโอลิมปิก Paris 2024 ตั้งแต่แบรนด์หรู ถึงงานแฮนด์เมด และนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน

สีสันหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกคือคอลเลคชัน ชุดนักกีฬาโอลิมปิก ที่ทัพนักกีฬาของแต่ละประเทศสวมใส่ทั้งในพิธีการและการแข่งขัน เวทีโอลิมปิกจึงเปรียบดั่งแคทวอล์คในการแสดงศักยภาพด้านต่างๆ เช่น เทคโนโลยีการผลิตเสื้อผ้า การออกแบบและการตัดเย็บโดยแบรนด์ในประเทศ และ งานฝีมือแฮนด์เมดที่บ่งบอกเอกลักษณ์ประจำชาติ

สุดอลังการ รามายณะนานาชาติ จาก 8 ประเทศ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ไอคอนสยาม ร่วมกับ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม และพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน นำสุดยอดการแสดงรามายณะนานาชาติจาก 8 ประเทศมาสู่สายตาชาวไทย จัดแสดงให้ชมฟรี ใน เทศกาลการแสดงรามายณะนานาชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567

Deja vu: The Last Chapter ความคลับคล้ายเคยประสบในบทสุดท้ายของ นที อุตฤทธิ์

Deja vu: The Last Chapter นิทรรศการล่าสุดของศิลปินไทยที่ขึ้นไปอยู่ในระดับนานาชาติ นที อุตฤทธิ์ เป็นเหมือนที่นิทรรศการไตรภาคที่จัดแสดง 3 ครั้งใน 7 เดือน

คนกราบหมาฆ่าเชคสเปียร์ : นมัสการเดรัจฉานเถิด…หากขุนศึกผู้ล้ำเลิศจะโสมมถึงเพียงนี้

พ.ศ. 2567 วงการภาพยนตร์ไทยตื่นขึ้นอีกครั้งกับข่าวใหญ่เรื่องการปลดคำสั่งห้ามฉายในภาพยนตร์เรื่อง คนกราบหมา และ เชคสเปียร์ต้องตาย ผลงานภาพยนตร์ของ สมานรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ หรือที่รู้จักกันในนาม “อิ๋ง เค” (Ing K) ผู้กำกับ ไทยที่โดนคำสั่งห้ามฉายภาพยนตร์ถึงสองครั้ง