ชวนคนรักเวิร์กช็อปออกไปเปิดประสบการณ์ใหม่ กับเวิร์กช็อปที่จะขยายพื้นที่สีเขียวเล็กๆ ในหัวใจให้พองโตขึ้น แต่ไม่ต้องห่วงว่าจะมีแต่กิจกรรมเชิงวิชาการหรือพาไปปลูกป่าเพียงเท่านั้น เพราะแม้แต่การทำอาหาร ทำของเล่น หรือดองดอกไม้ ก็จะทำให้เราเข้าใจโลกได้เช่นกัน
ทีมนักวิจัยคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ พบสารเคมีในกลิ่นเหงื่อบ่งบอกภาวะความเครียดสูงและซึมเศร้าได้ นำร่องศึกษานักผจญเพลิงในกรุงเทพฯ ผลทดสอบแม่นยำถึง 90% พร้อมเดินหน้าตรวจคัดกรองสุขภาพจิตในกลุ่มอาชีพเครียดจัดและเสี่ยงสูงอื่น ๆ หวังลดปัญหาสุขภาพจิตและความรุนแรงในสังคม
เพราะโลกร้อนใกล้ตัวกว่าที่เราคิด และเพื่อให้เรื่อง Climate Change เป็นเรื่องที่เข้าใจง่ายและให้ทุกคนตระหนักว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมและภารกิจช่วยโลกใกล้ตัวเราและสามารถเริ่มได้จากตัวเราจริงๆ Siam Discovery presents Earth Discovery จึงเป็นอีกนิทรรศการเด่นของเดือนสิ่งแวดล้อมที่จะพาไปไขคำตอบและจุดประกายให้เราคิดต่อว่าจะทำอย่างไรได้บ้างในการพลิกวิกฤตินี้
บางกอก ไพร์ด 2023 มากับแคมเปญ Road To Bangkok World Pride 2028 เพื่อผลักดันให้กรุงเทพมหานครได้เป็นเจ้าภาพในการจัดงาน World Pride ที่จะจัดขึ้นทุกๆ สองปี ต่อจาก 3 เมืองใหญ่อย่าง ซิดนีย์ ที่เป็นเจ้าภาพในปีนี้ วอชิงตัน ดีซี ปี 2025 และอัมสเตอร์ดัม ในปี 2026
รู้จัก ไซยาไนด์ (Cyanide) สารพิษที่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมที่หลากหลาย เช่น การผลิตสแตนเลส การถลุงเงินหรือทอง การชุบโลหะ ถูกค้นพบในต้นศตวรรษที่ 18
เปิดประสบการณ์ Ari Eco Walk กิจกรรมสำรวจนิเวศกลางเมือง จัดโดย บาส-ปรมินทร์ วัฒน์นครบัญชา ซึ่งเป็นการเปิดประสบการณ์ใหม่ของย่านฮิปอย่าง อารีย์ ที่เราอาจลืมไปแล้วว่ามีความรื่นรมย์ของธรรมชาติ
10 ข้อควรรู้เกี่ยวกับวัสดุกัมมันตรังสี ซีเซียม-137 อันตรายแค่ไหนต่อทั้งสุขภาพและสิ่งแวดล้อม พร้อมแนวทางการป้องกัน สังเกตว่าอะไรคือวัสดุกัมมันตรังสีที่อันตราย
ฝุ่น PM 2.5 เป็นหนึ่งในมลพิษทางอากาศที่อันตรายที่สุด เมื่อเข้าสู่ร่างกายทางโพรงจมูกสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ ปอด และระบบเส้นเลือด ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา เช่น โรค หลอดเลือดในสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจ ขาดเลือด โรคมะเร็งปอด โรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบ หายใจส่วนล่าง ฯลฯ
เมื่อพิสูจน์แล้วว่าการทำเกษตร ชุมชนและสิ่งแวดล้อม สามารถขับเคลื่อนให้เดินหน้าไปพร้อมกันได้อย่างสมดุลโครงการพุทธนิเวศเกษตรอินทรีย์ไร่เชิญตะวัน จังหวัดเชียงรายจึงถูกก่อตั้งขึ้น และสานต่ออย่างยั่งยืนโดย “เซ็นทรัล ทำ” ก่อเกิดเป็นโครงการนำร่องศูนย์เรียนรู้ต้นแบบการทำเกษตรอินทรีย์