Better Living
10 ประเด็น วิกฤติแพทย์ด่านหน้า ปัญหาที่รัฐบาลต้องฟัง!

พูดคุยกับ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ต่ออุดม ผู้อำนวยการโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติซึ่งขอเป็นตัวแทนส่งเสียงสะท้อนจากแพทย์หน้างาน ไปถึงรัฐบาล กับปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข และการจัดการอย่างเป็นระบบที่ต้องทำอย่างทันท่วงที

COVID-19 SCAN ทางเลือกชุดตรวจโควิด-19 เชิงรุก โดยทีมนักวิจัยไทย

จุฬาฯ เปิดตัว COVID-19 SCAN ใช้เทคโนโลยี CRISPR ทำให้ชุดตรวจมีความไวและประสิทธิภาพสูงใกล้เคียงกับวิธี Real-time PCR แต่ราคาถูกกว่า

Taiwan Design Power นวัตกรรมและพลังแห่งการดีไซน์ ตอบโจทย์ความยั่งยืน

Taiwan Design Power : The Future of Sustainability นิทรรศการที่รวบรวมกว่า 10 นวัตกรรมงานออกแบบส่งตรงจากไต้หวัน ทั้งหมวดนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันเชื้อโควิด-19 และนวัตกรรมที่ออกแบบเพื่อความยั่งยืน

9 สัญลักษณ์แสดง อันตรายของสารเคมี ที่ประชาชนทั่วไปต้องรู้

รู้จัก 9 สัญลักษณ์แสดง อันตรายของสารเคมี ตามกำหนดของ GHS ซึ่งเป็นการติดฉลากสารเคมีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก เพื่อแสดงถึงอันตรายในแต่ละด้าน

รู้จัก สไตรีนโมโนเมอร์ ตั้งแต่การใช้งาน อันตรายต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และวิธีระงับเหตุ

สไตรีนโมโนเมอร์ Styrene Monomer คืออะไร อันตรายแค่ไหนเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมอย่างไร รวมทั้งการเข้าระงับเหตุดับเพลิงอย่างถูกวิธีต้องทำอย่างไร

ข้อปฏิบัติ Home Isolation ติดโควิด รอเตียง แยกรักษาตัวอยู่บ้านต้องรู้

ฎการปฏิบัติตัวพร้อมเปลี่ยนบ้านให้เป็น Home Isolation หรือ แยกกักตัวที่บ้าน ทำอย่างไรจึงช่วยลดความเสี่ยงการแพร่กระจายเชื้อสู่สมาชิกในบ้าน คนในคอนโด รวมทั้งผู้ที่อยู่ร่วมชุมชนเดียวกัน

จุฬาฯ เปิด คลินิกสุขภาพเพศ ตอบทุกโจทย์สุขภาพ สำหรับคนข้ามเพศโดยเฉพาะ

เปิด คลินิกสุขภาพเพศ โดยโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมองว่าการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพเฉพาะทางควรเกิดขึ้นเพื่อคนข้ามเพศโดยเฉพาะ

จับตา โควิดสายพันธุ์เดลตา สู่การกลายพันธุ์ เดลตาพลัส ที่อาจส่งผลต่อแผนวัคซีนไทย

ทำไม โควิดสายพันธุ์เดลตา ที่กำลังกลายพันธุ์สู่สายพันธุ์ใหม่ เดลตาพลัส ถึงถูกจับตาจากหลายประเทศว่าเป็น สายพันธุ์ที่น่ากังวล และแผนวัคซีนที่ไทยกำลังวางไว้จะสามารถวิ่งตามสายพันธุ์ใหม่นี้ได้ทันหรือไม่เป็นอีกประเด็นที่น่าจับตา

ไวกว่า Rapid Test คือ สุนัขดมกลิ่นคัดกรองผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่แสดงอาการ

การใช้ สุนัขดมกลิ่นคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่แสดงอาการ ถือเป็นอีกโครงการวิจัยที่น่าสนใจไม่น้อย และหลังจากการทำวิจัยตลอด 7 เดือนก็ได้ผลออกมาแล้วว่า สุนัขสามารถดมกลิ่นโควิด-19 ได้แม่นยำถึง 96%