Sarakadee Lite พาย้อนรอยประวัติศาสตร์ศิลปะการพับกระดาษ หรือโอริงามิ (origami) เพื่อรำลึกถึง อากิระ โยชิซาวะ ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งโอริงามิสมัยใหม่” เนื่องในวันครบรอบวันเกิดปีที่ 109 และการจากไปปีที่ 15 ของโยชิซาวะในวันที่ 14 มีนาคมนี้
ครั้งแรกในรอบ 200 ปีกับการอนุรักษ์ภาพเขียนสีฝุ่นบนกระดาษข่อยในวิหารวัดสุทัศน์ ซึ่งเป็นผลงานของช่างหลวงยุคต้นรัตนโกสินทร์ที่ไม่ได้รับการเหลียวแลมาเป็นเวลานาน
“เก่ง” นพพล นุชิตประสิทธิชัย เป็นหนึ่งในไม่กี่คนของช่างศิลปะไทยที่ผลิตสีฝุ่นธรรมชาติจาก Pigment ของหิน ดิน พืช และสัตว์ ภายใต้แบรนด์ "กระยารงค์" ซึ่งกว่าจะได้แต่ละสีไม่ใช่เรื่องง่ายเลย
ภายในพิพิธภัณฑ์ ศิลป์แผ่นดิน ผู้ไปเยือนจะได้ชมงานศิลปะชิ้นเอก ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “สมบัติของชาติ” และสร้างสรรค์โดยช่างฝีมือ 23 สาขาจากมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
อิ่มหทัย สุวัฒนศิลป์ เป็นที่รู้จักในวงการศิลปะที่โดดเด่นในการใช้เส้นผมและเทคนิคการถักโครเชต์มาสร้างสรรค์งานศิลปะที่บันทึกจังหวะชีวิตของตัวเองและปัญหาสังคม และในนิทรรศการล่าสุด (UN)SEEN เธอมองผ่านเลนส์ (ของคนนอก) เกี่ยวกับ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ทีมแกะสลักหิมะไทยคว้าแชมป์การแข่งขัน Sapporo International Snow Sculpture ครั้งที่ 47 มาครอง ซึ่งเป็นทีมเดียวกันกับผู้สร้างสรรค์ชิ้นงาน ปลากัด และคว้าแชมป์มาได้ในปีที่แล้ว
ตามรอยนิทรรศการภาพถ่าย Hundred Years Between โดย ท่านผู้หญิงสิริกิติยา เจนเซน สู่โรงภาษีร้อยชักสาม หรือ ศุลกสถาน ที่เปิดให้เข้าชมก่อนการปิดปรับปรุง บูรณะ และเข้าสู่ความเปลี่ยนแปลง
พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ จัดแสดงผ้าบาติกชุดที่ 2 จากผลงานสะสมส่วนพระองค์ของในหลวงรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งเสด็จเยือนชวา 3 ครั้ง ที่ไม่เคยเผยโฉมสู่สาธารณชนมาก่อน
ชาวชุมชนเจริญไชย เล่าประวัติศาสตร์และความสำคัญของพื้นที่ซึ่งเป็นย่านค้าขายกระดาษไหว้เจ้าที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดของประเทศผ่านพิพิธภัณฑ์ชุมชนและพิธีไหว้พระจันทร์