ประเทศอียิปต์จัดพิธียิ่งใหญ่ The Pharaoh’s Golden Parade of 22 Royal Mummies ขบวนแห่เพื่อเคลื่อนย้ายร่างมัมมี่ของฟาโรห์และราชินีในยุคอียิปต์โบราณซึ่งมีอายุกว่า 3,000 ปี จำนวน 22 ร่างที่เคยเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอียิปต์ มาจัดแสดงถาวรที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติอารยธรรมอียิปต์
ในวัฒนธรรมอียิปต์ แมว มีความสำคัญที่มากกว่าแค่สัคว์เลี้ยง แมวในวัฒนธรรมอียิปต์โบราณถูกยกย่องให้เป็นดั่งเทพ เมื่อแมวตายลงก็มีการทำมัมมี่ไม่ต่างจากคน อีกทั้งเจ้าของแมวจะโกนคิ้วตัวเอง เพื่อแสดงความโศกเศร้าด้วย
รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน หนังสือที่จะเปิดโลกผู้อ่านได้เห็นสภาพอันสมบูรณ์ของเจดีย์ วิหาร และโบราณสถานสำคัญและเก่าแก่ในประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันหลายแห่งเหลือเพียงส่วนฐาน ยากจะจินตนาการสภาพสมบูรณ์ในอดีต โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม
ถือเป็นสัญญาณดีหลังกรุงเทพมหานครและตัวแทนคณะกรรมการ มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หารือร่วมกันและมีมติต่อสัญญาให้มูลนิธิฯ เป็นผู้บริหารพื้นที่ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ หอศิลปกรุงเทพฯ ต่ออีก 10 ปี พร้อมทั้งจะมีการร่างข้อตกลงใหม่เกี่ยวกับงบอุดหนุนของหน่วยงานรัฐเพื่อให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
นิทรรศการ โอะกุริโมโนะ สุนทรียะแห่งการให้และคืนกลับ จัดแสดงของขวัญ 98 ชิ้นจากประเทศญี่ปุ่น ถ่ายทอดเรื่องราวพิธีกรรมการมอบของขวัญ 4 วาระพิเศษ จัดแสดง ณ TCDC กรุงเทพฯ ที่แรกในโลก
ความไม่ชัดเจนบีบรัดด้วยข้อจำกัดเวลา และเส้นตายขีดไว้ที่เดือนสิงหาคม 2564 ที่กรุงเทพมหานคร ต้องตัดสินใจว่า จะให้ มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริหารจัดการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ หอศิลปกรุงเทพฯ ต่อหรือไม่ ทำให้หลายคนที่ติดตามข่าวเริ่มวิตกกังวล ถึงอนาคตชีพจรของหอศิลป์ใจกลางเมืองแห่งนี้ว่าจะเดินต่อหรือถอยหลัง
จารึก คัมภีร์ใบลาน สมุดไทย และเอกสารโบราณต่างๆ จะไม่ใช่ข้อมูลที่เข้าถึงยากอีกต่อไป เพราะล่าสุด กรมศิลปากร โดยสำนักหอสมุดแห่งชาติ ได้พัฒนาฐานข้อมูลเอกสารโบราณซึ่งประกอบไปด้วยฐานข้อมูลจารึก คัมภีร์ใบลาน หนังสือสมุดไทย และตู้พระธรรม (เอกสารโบราณ) อัปโหลดข้อมูลเข้าสู่โลกออนไลน์
ประวัติศาสตร์ และความเก่าแก่โบราณจะไม่น่าเบื่ออีกต่อไปเมื่อ เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งขนาดใหญ่บนเนื้อที่ร่วม 800 ไร่ ร่วมกับ อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ กำลังจะชวนมาเปิดห้องเรียนประวัติศาสตร์ภาคค่ำด้วยตำราที่เต็มไปด้วยสีสันกับ เมืองโบราณ ไลท์ เฟส
มูลนิธิเมืองเก่าภูเก็ตได้จัดทำหนังสือ อังมอเหลา บ้านเก่าเถ้าแก่ภูเก็ต เพื่อเผยแพร่ความงดงามของอังมอเหลา หรือ คฤหาสน์ ของคหบดีภูเก็ตที่นิยมสร้างในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงต้นรัชกาลที่ 6 มีรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกผสมจีน บอกเล่าประวัติศาสตร์เมืองภูเก็ตและการก่อร่างสร้างตัวของชาวจีนฮกเกี้ยนจนกลายเป็นคหบดีผู้มั่งคั่ง